The long road to sustainability
IN JUNE last year Daniel Avelino, the public prosecutor of Brazil’s state of Pará, the home of most of the Amazon cattle-herd, probably saved more rainforest than many conservation groups ever will. He identified 20 big ranches operating on illegally cleared land and traced the slaughterhouses buying their cattle. He then established that some of the world’s best-known retailers, including Wal-Mart and Carrefour, were buying meat from them.
He fined the ranchers and abattoirs 2 billion reais ($1.2 billion) and told the retailers that unless they cleaned up their supply chains he would fine them, too. The response was dramatic. Overnight, the retailers stopped buying meat from Pará and the slaughterhouses closed. To get themselves off the hook, and cows back on it, the abattoirs vowed that in future they would deal only with ranchers who had registered their names and property details and promised not to deforest illegally. Over 20,000 have done so. In the absence of a reliable land registry, Mr Avelino says this will make it much easier to bring illegal deforesters to book. “Once I know who owns the farm, I can send the fine through the post,” he says.
Around the same time Greenpeace waded in with a report on the role of Amazon beef in deforestation. That, too, hit at the rich end of the industry’s supply chain, linking beef and leather from the Amazon to companies such as Adidas, Nike, Toyota, Gucci and Kraft. Many have since agreed to work with Greenpeace against illegal deforestation. And Wal-Mart has promised to trace its products from the manger to the refrigerator. That is the upside of growing global demand for tropical food, timber and biofuels: pressure for Western standards to be adopted up the supply chain. This is driven by the eco-worries of Western consumers—and the activists who play on them. Having been long since given the brush-off by rainforest governments, they are finding companies that operate in tropical countries and sell to Western markets much more responsive. Nestlé, a giant food company, is another of Greenpeace’s recent targets. The environmentalists made a spoof advertisement for one of the company’s chocolate bars, KitKat, which contains palm oil, and published it on the internet. The ad shows an office worker munching on a chocolate bar which
turns out to be the bloody severed finger of an orang-utan. This scored more than 1.5m online hits and put Nestlé in a panic. It stopped buying palm oil from its main Indonesian supplier, Sinar Mas, a big conglomerate with a reputation for chewing up rainforest, and said it would purge from its supply chain any producer linked to illegal deforestation. It has since promised to get 50% of its palm oil from sustainable sources next year. And unconvinced by the standard of most of this “sustainable” oil, Nestlé is setting its own.
เส้นทางอันแสนไกล..สู่ความยั่งยืน
เมื่อเดือนมิถุนายนปีที่แล้ว แดเนียล อเวลิโน (Daniel Avelino) อัยการประจำรัฐ Pará ของบราซิล รัฐซึ่งมีจำนวนโคกระบือลุ่มแม่น้ำอะเมซอนมากที่สุด กล่าวได้ว่าแดเนียลนั้นได้ส่งเสริมให้มีการอนุรักษ์ป่าไม้ ในจำนวนที่มากกว่ากลุ่มอนุรักษ์ใดๆได้เคยรณรงค์ให้เกิดขึ้น เขาได้ระบุฟาร์มปศุสัตว์ผิดกฎหมายกว่า 20 แห่งบนพื้นที่เขตสงวน โดยเขาได้ติดตามไปยังโรงฆ่าสัตว์แต่ละแห่ง ผ่านการล่อซื้อสัตว์ดังกล่าว ทั้งนี้เขากล่าวว่าร้านค้ารายย่อยอย่าง Wal-Mart และ Carrefour ยังได้ซื้อเนื้อสัตว์จากแหล่งดังกล่าวอีกด้วย
เขาได้ทำการปรับเงินเจ้าของฟาร์มปศุสัตว์และโรงฆ่าสัตว์ดังกล่าวเป็นจำนวนเงิน 2 พันล้าน รีเอส (reais สกุลเงินบราซิล) และกล่าวว่าจะดำเนินการดังกล่าวเช่นกันกับร้านค้ารายย่อยด้วยเช่นกัน หากร้านค้าดังกล่าวไม่หยุดการสั่งซื้อดังกล่าว ผลกระทบที่เกิดขึ้นตามมานั้นรวดเร็ว กล่าวคือเพียงข้ามคืนร้านค้ารายย่อยดังกล่าวต่างหยุดการสั่งซื้อเนื้อจากรัฐ Pará และโรงฆ่าสัตว์ดังกล่าวก็ปิดตัวลงเช่นกัน ทั้งนี้เจ้าของโรงฆ่าสัตว์สัญญาว่าในอนาคตพวกเขาจะทำการค้าขายกับเจ้าของฟาร์มปศุสัตว์ที่ได้ทำการจดทะเบียนชื่อการค้าและรายละเอียดทรัพย์สินต่างๆ รวมถึงการไม่ตัดไม้อย่างผิดกฎหมายอีกด้วย เพื่อให้เจ้าของโรงฆ่าสัตว์เองไม่มีส่วนพัวพันกับเรื่องที่เกิดขึ้น และเพื่อให้ได้วัวของพวกเขากลับคืนมานั่นเอง
ณ ช่วงเวลาเดียวกัน สมาคมกรีนพีซ (Greenpeace) ได้มีส่วนเข้ามาร่วมด้วยเช่นกัน โดยอาศัยรายงานการตัดไม้ทำลายป่าเพื่อการค้าเนื้อวัวจากอะเมซอน ด้วยเหตุนี้เองจึงส่งผลกระทบไปยัง ณ ปลายสุดของห่วงโซ่อุปทานอย่างการแปรรูปเนื้อวัวให้กลายเป็นเนื้อผ้าด้วยเช่นกัน โดนเริ่มจากตั้งแต่อะเมซอนไปจนถึงบริษัทต่างๆ เช่น Adidas Nike Toyota Gucci และ Kraft ทั้งนี้บริษัทจำนวนมากได้ตกลงที่จะร่วมมือกับกรีนพีซในการต่อต้านการตัดไม้ทำลายป่าผิดกฎหมาย สำหรับ Wal-Mart ก็ได้ให้สัญญาว่าจะตรวจสอบสินค้าของตนตั้งแต่รางหญ้าไปจนถึงตู้แช่เลยทีเดียว กล่าวได้ว่าสิ่งต่างๆเหล่านี้ถือเป็นประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากการเพิ่มระดับมาตรฐานของประเทศตะวันตกให้กับห่วงโซ่อุปทาน อันเนื่องมาจากการเติบโตของความต้องการด้านอาหารในเขตร้อน ไม้ซุง หรือเชื้อเพลิงชีวภาพ กล่าวได้ว่าการยกระดับมาตรฐานดังกล่าวนั้นได้รับแรงสนับสนุนจากความกังวลถึงสิ่งแวดล้อมของนักบริโภคชาวตะวันตกเอง รวมทั้งผู้สนับสนุนการเคลื่อนไหวต่างๆ อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าสิ่งต่างๆเหล่านี้จะไม่ได้รับการใส่ใจจากภาครัฐที่รับผิดชอบเรื่องของป่าฝนดังกล่าว พวกเขาก็จะยังคงพยายามค้นหาบริษัทต่างๆที่ทำการในประเทศเขตร้อน และขายส่งสินค้าไปยังตลาดตะวันตกให้มีความรับผิดชอบต่อสังคมมากขึ้นต่อไป
บริษัทยักษ์ใหญ่ด้านอาหารอย่าง Nestlé ก็เป็นอีกบริษัทหนึ่งในกลุ่มที่กรีนพีซจับตามอง โดยนักสิ่งแวดล้อมได้จัดทำวิดีโอโฆษณาล้อเลียน KitKat ช็อกโกแลตที่มีส่วนประกอบของน้ำมันปาล์ม และเผยแพร่บนอินเทอร์เน็ต โดยโฆษณาดังกล่าวนั้นได้แสดงภาพของพนักงานออฟฟิศกำลังเคี้ยวช็อกโกแลตอยู่ หลังจากนั้นนิ้วมือก็เปลี่ยนกลายเป็นนิ้วมือของลิงอุรังอุตังไป วิดีโอดังกล่าวได้รับการเข้าชมถึง 1.5 ล้านครั้ง และสร้างความหวั่นไหวให้กับ Nestlé จนถึงขนาดต้องหยุดการซื้อน้ำมันปาล์มจากผู้จัดหาวัตถุดิบหลักที่อินโดนีเซียไป ทั้งนี้เครือบริษัทยักษ์ใหญ่ที่โด่งดังจากอุตสาหกรรมแปรรูปผลิตภัณฑ์ โดยอาศัยวัตถุดิบจากป่าฝนอย่าง SinarMas นั้นก็ให้สัญญาว่าในปีหน้า บริษัทจะรับวัตถุดิบน้ำมันปาล์มจำนวน 50% จากแหล่งที่เชื่อถือได้และยั่งยืน อย่างไรก็ตาม Nestlé ก็ได้ดำเนินการจัดทำมาตรฐานของตนเอง โดยไม่สนใจในการสร้างมาตรฐานของความยั่งยืนเหล่านี้